ออมเงิน กับ กอช หรือ ประกันสังคม มาตรา 40 แบบไหนดีกว่ากัน

ออมเงิน กับ กอช หรือ ประกันสังคม มาตรา 40 แบบไหนดีกว่ากัน

สำหรับ คนไม่ได้ทำงานประจำ เป็นประเภท ฟรีแลน์  freelance หรือ พ่อค้า แม่ค้า ออนไลน์ อยากมีหลักประกันไว้ยาม เกษียณอายุ มีเงินออม แบบ บำเหน็จ บำนาญ ควรจะเลือกการออมเพื่อการเกษียณอายุแบบไหนดี ระหว่าง  ประกันสังคม มาตรา 40  หรือ กองทุนการออมแห่งชาติ กอช.

 

แน่นอนว่า เมื่อพูดถึงการออมเงิน เพื่อเก็บไว้ใช้ยามเกษียณ อายุ  นั้น คนส่วนใหญ่จะหนึ่งถึง ประกันสังคม มาตรา 33 หรือ มาตรา 39  รวมไปถึง กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และ กองทุนบำเหน็จบำนาญของ ข้าราชการที่เรียกว่า กบข.    และ แม้กระทั่ง การลงทุนผ่านกองทุนรวม ประเภท กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ RMF  ก็ตามที่  

 

 

แต่หลายคน ยังไม่เคย รู้จัก การออมเงินอีกแบบที่ไม่ได้ ใช้เงินออมต่อเดือนมากนัก เพียง หลักไม่กี่ร้อย บาท ก็สามารถออมได้แล้ว นั่นคือ ประกันสังคม มาตรา 40  สำหรับผู้ประกอบ อาชีพ อิสระ และ กองทุน การออมแห่งชาติ หรือ กอช   

แล้ว ทั้ง

 

ประกันสังคม ขยายเวลา ให้ลูกจ้าง มาตรา33 ที่ตกงาน สมัครเป็น มาตรา 39

เพิ่มผลประโยชน์ เงินทดแทน ประกันสังคม มาตรา 40

ใหม่ ประกันสังคม มาตรา 40 สำหรับอาชีพอิสระ จ่ายน้อยประโยชน์ เพียบ

อาชีพอิสระวัยทำงาน ออมเงินกับ กอช. ยามเกษียณ รับบำนาญเดือนละ 3,600 บาทตลอดชีพ

 

ประกันสังคม ม.40 กับ กอช มีความแตกต่างกันอย่างไร

ตารางเปรียบเทียง ประกันสังคม ม40 VS กอช 

กองทุนประกันสังคม มาตรา 40

กองทุน การออมแห่งชาติ (กอช)

คุณสมบัติ

สัญชาติไทย

สัญชาติไทย

อายุ 15-60 ปี

อายุ 15-60 ปี

ไม่เป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา 33,39

ไม่เป็น ผู้ประกันตน ประกันสังคม มาตรา 33,39 ยกเว้น มาตรา 40 ทางเลือกที่ 1

ไม่เป็นข้าราชการ หรือ สมาชิก กบข

ไม่เป็นข้าราชการ หรือ สมาชิก กบข

ไม่เป็นบุคคลที่ถูกยกเว้น ตามกฏหมายประกันสังคม

มีอาชีพ อิสระ ไม่มีนายจ้าง หรือไม่มีอาชีพ

ทางเลือกการออมและสิทธิประโยชน์

ทางเลือกที่ 1

จ่ายเงินสมทบ 70 บาท/เดือน

คุ้มครอง 3 กรณี : เจ็บป่วย,ทุพพลภาพ,ตาย

ออมเงินเท่าไรก็ได้ ขั้นต่ำ 50 บาทต่อครั้ง และสูงสุดไม่เกิน 13,200 บาท/ปี
ไม่จำเป็นต้องส่งเท่ากัน ทุกครั้งก็ได้

ทางเลือกที่ 2

จ่ายเงินสมทบ 100 บาท/เดือน

คุ้มครอง 3 กรณี : เจ็บป่วย,ทุพพลภาพ,ตาย,ชราภาพ

สิทธิประโยชน์

อายุ 15-30 ปี รัฐสมทบเงินออมให้ 50% ของการออมแต่ละครั้ง แต่ไม่เกิน 600 บาท/ปี

ทางเลือกที่ 3

จ่ายเงินสมทบ 300 บาท/เดือน

คุ้มครอง 3 กรณี : เจ็บป่วย,ทุพพลภาพ,ตาย,ชราภาพ,สงเคราะห์บุตร

อายุ 31-50 ปี รัฐสมทบเงินออมให้ 80% ของการออมแต่ละครั้ง แต่ไม่เกิน 960 บาท/ปี

อายุ 51-60 ปี รัฐสมทบเงินออมให้ 100% ของการออมแต่ละครั้ง แต่ไม่เกิน 1,200 บาท/ปี

   

เมื่ออายุ ถึง 60 ปี ได้เงินคืนเท่าไร

- ผู้ประกันตน จะต้องมี อายุ ครบ 60 ปี บริบูรณ์ และ สินสุดความเป็น ผู้ประกันตน หรือลาออก

- ผู้ประกันตน เสียชีวิต ได้ค่าทำศพ เงินสงเคราะห์กรณีเสียชีวิต บำเหน็จชราภาพ

·        -เป็นสมาชิกจนครบ 60 ปี บริบูรณ์  สมาชิกจะได้รับเงินสะสม และ ผลตอบแทน ในรูปของ เงิน บำนาญ แบบรายเดือน

·         - ถ้าลาออกจากกองทุนก่อนอายุ ครบ 60ปี จะได้รับเงินคืนเฉพาะเงินออมของสมาชิก และ ดอกผล ของเงินออม

·        - ถ้าเสียชีวิต กอช จะจ่ายเงินทั้งหมด คือ เงินออมของสมาชิก บวก เงินสมทบจากรัฐบาล และ ดอกผลของเงินสมทบ ของสมาชิก และรัฐบาล

·          

·          

·          

เงื่อนไข และสิทธิประโยชน์ กรณีชราภาพ

ทางเลือกที่ 2 

ได้รับเงิน บำเหน็จ ชราภาพ

(เงินสมทบ 50 บาท คูณด้วยจำนวนเดือน ที่จ่ายเงินสมทบ + เงินออมเพิ่ม  พร้อมผลประโยชน์ ตอบแทนรายปี

ทางเลือกที่ 3  

ได้รับ  เงินบำเหน็จ ชราภาพ

(เงินสมทบ 150 บาท คูณด้วยจำนวนเดือน ที่จ่ายเงินสมทบ + เงินออมเพิ่ม  พร้อมผลประโยชน์ ตอบแทนรายปี

·          

ได้รับ บำนาญรายเดือน ขั้นต่ำ 600 บาท/เดือน

(สูงสุดประมาณ 7,000 บาท/เดือน)

ตลอดจนกว่าเงินในบัญชี พร้อมผลประโยชน์ จะหมด หรือ จนกว่า เสียชีวิต ขึ้นอยู่กับ จำนวนเงินที่ออม และ ระยะเวลาการออม

   

ผลตอบแทน

ไม่ค้ำประกันผลตอบแทน

ค้ำประกันผลตอบแทน สำหรับสมาชิที่ออมจนครบอายุ 60 ปี โดยจะได้ผลตอบแทน ไม่น้อยกว่า ดอกเบี้ย เงินฝากประจำ 12 เดือน เฉลี่ย 7 ธนาคาร

   

สิทธิประโยชน์ทางภาษี

เงินออมสามารถนำไป ลดหย่อนภาษีได้ ตามจำนวนเงินที่ออม

เงินที่ออมสามารถนำไป ลดหย่อนภาษี ได้ ตามจำนวน เงินที่ออม แต่เมื่อรวม กับการออม เพื่อเกษียณอายุ อื่นลดหย่อนภาษีได้ ไม่เกิน 500,000 บาทต่อ ปีภาษี

 

 

วางแผนการเงินด้วย เบี้ยประกันชีวิต กับการลดหย่อน ภาษี

 

 

 

 

Money Banner

พื้นที่ โฆษณา